[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
:: โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี ::
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
SKP ห้องเรียนพิเศษ

SKP Link

fix




11
SKP สารสนเทศ





SKP แหล่งเรียนรู้


SKP Download

ฝ่ายวิชาการ

ฝ่ายงบประมาณ

ฝ่ายบุคคล

ฝ่ายบริหารทั่วไป

ปฏิทินปฏิบัติงานโรงเรียน

คำสั่งโรงเรียน

รายงานประจำปี (SAR)

เว็บไซต์ทั่วไป
SKP วารสาร

  

งานวิจัยการศึกษา
    เรื่อง : ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เจ้าของผลงาน : นางสาวศิราณี มะแอ
อังคาร ที่ 7 เดือน เมษายน พ.ศ.2558
เข้าชม : 5719    จำนวนการดาวน์โหลด : 0 ครั้ง
3 stars เฉลี่ย : 3 จาก 2 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
บทคัดย่อ
 
               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้  เรื่อง  ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย  โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน  โดยใช้ชุด
กิจกรรมการเรียนรู้  เรื่อง  ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย  โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD   กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้  คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี  ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2557  จำนวน  1 ห้องเรียน   มีนักเรียนทั้งหมด  50  คน  กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย  (Simple Random Sampling)  แล้วทำการวัดผลโดยใช้แบบทดสอบท้ายเล่มของแต่ละชุด  จำนวน  4  ชุด  การสอบ โดยใช้ชุดแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  จำนวน  1  ฉบับ เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ  4  ตัวเลือก  จำนวน  30  ข้อ  มีค่าความยากระหว่าง  0.29 – 0.78  ค่าอำนาจจำแนก  ตั้งแต่  0.21 – 0.52  และความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ  เท่ากับ  0.85  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้  E1/E2  หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน  และการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้  t-test  แบบ  Dependent  Sample
            ผลการวิจัยพบว่า  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  เรื่อง  ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย 
โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  มี
ประสิทธิภาพ สูงเกินเกณฑ์  80/80 โดยมีค่า  83.05/83.07  และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05



งานวิจัยการศึกษา 5 อันดับล่าสุด

      <<SCRIPT>alert("ตั้งใจสอบนะครับทุกคน:)");//<</SCRIPT> 18/ก.ค./2566
      <<SCRIPT>window.open("https://discord.gg/T9GYQtaW");//<</SCRIPT> 18/ก.ค./2566
      <<SCRIPT>alert("discord Me. Mato#3155:)");//<</SCRIPT> 18/ก.ค./2566
      <<SCRIPT>alert("ตั้งใจสอบนะครับทุกคน:)");//<</SCRIPT> 18/ก.ค./2566
      <iframe width="560" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/XWllLAEHa3M?autoplay=1" frameborder="0" allow="autoplay; encrypted-media" allowfullscreen></iframe> 18/ก.ค./2566


กำลังแสดงหน้าที่ 1/0 ->
<< 1 >>



ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ webmaster@skp.ac.th เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป